SME Academy Learning

โครงการ “สร้างและพัฒนาผู้ประกอบการใหม่เชิงสร้างสรรค์และนวัตกรรม” โดยกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ได้พัฒนาสื่อความรู้ให้ทันสมัย โดยอาศัยเทคโนโลยีของเว็บในการถ่ายทอดเนื้อหา และเผยแพร่องค์ความรู้ ให้กับผู้ที่สนใจจะก้าวเป็นผู้ประกอบการใหม่โดยพัฒนาระบบการจัดการหลักสูตรฝึกอบรมการสร้างและพัฒนาผู้ประกอบการใหม่ด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการพัฒนาและยังลดช่องว่างในการเข้าถึงโอกาสการเรียนรู้ความเป็นผู้ประกอบการใหม่ ด้วยระบบการเรียนรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์ (E-learning)

ประโยชน์ที่ผู้เรียนจะได้รับ

• ผู้ผ่านการอบรมจะมีสิทธิ์เข้าร่วมโครงการ Startup Day (ซึ่งเป็นการนำเสนอแผนธุรกิจต่อหน้านักลงทุนจริง)
• ผู้ผ่านการอบรมจะได้รับวุฒิบัตรรับรองจาก กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม และ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
• ผู้ผ่านการอบรมจะได้รับการสนับสนุนจากทางกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม ในการพัฒนาและขับเคลื่อนธุรกิจ

หลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2560

หลักสูตรการสร้างเสริมผู้ประกอบการใหม่

• รายวิชาที่ 1.1 การเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ยุคดิจิทัล ( Digital Transformation )
• รายวิชาที่ 1.2 เศรษฐกิจดิจิทัลกับผู้ประกอบการใหม่
• รายวิชาที่ 1.3 คุณลักษณะพื้นฐานของผู้ประกอบการธุรกิจในยุคดิจิทัล
• รายวิชาที่ 1.4 กรณีศึกษา การถ่ายทอดแรงบันดาลใจจากผู้ประกอบการใหม่ที่ประสบความสำเร็จ
• รายวิชาที่ 1.5 โอกาสและอุปสรรคของธุรกิจในยุคดิจิทัล
• รายวิชาที่ 1.6 รูปแบบสินค้าและบริการ (Product Idea) และการวางแผนธุรกิจที่จะประสบความสำเร็จในยุคดิจิทัล

• รายวิชาที่ 2.1 ทิศทางและแนวโน้มพฤติกรรมผู้บริโภค
• รายวิชาที่ 2.2 เครื่องมือทาง E-Marketing ที่สำคัญและการนำมาใช้งานให้ได้ผล
• รายวิชาที่ 2.3 แนวโน้มเครื่องมือทาง E-Marketing ในอนาคต โอกาสและช่องว่างทางการตลาด E-Marketing
• รายวิชาที่ 2.4 การคิดเชิงสร้างสรรค์เพื่อการทำโฆษณาออนไลน์
• รายวิชาที่ 2.5 การทำการตลาดผ่าน Search Engine Optimization (SEO) และ Search Engine Marketing (SEM)
• รายวิชาที่ 2.6 การทำการตลาดผ่านวิดีโอ ( Youtube, Streaming Video, Live )
• รายวิชาที่ 2.7 การทำการตลาดผ่านสื่อสังคมออนไลน์
• รายวิชาที่ 2.8 การวางแผนงบประมาณในการใช้สื่อโฆษณาออนไลน์
• รายวิชาที่ 2.9 การตรวจสอบและวัดผลความสำเร็จจากการทำการตลาดออนไลน์

• รายวิชาที่ 3.1 การถ่ายภาพเบื้องต้น
• รายวิชาที่ 3.2 การตกแต่งรูปภาพด้วย Photoshop
• รายวิชาที่ 3.3 การสร้างเว็บไซต์เบื้องต้นด้วยโปรแกรม Dreamweaver
• รายวิชาที่ 3.4 การสร้างหน้าร้านค้าด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป ShopUp.com
• รายวิชาที่ 3.5 การอัพโหลดและบริหารจัดการข้อมูลในเว็บเซิร์ฟเวอร์และระบบคลาวน์

• รายวิชาที่ 4.1 ความสำคัญของเงินทุนและแหล่งที่มาของเงินทุน
• รายวิชาที่ 4.2 หลักเกณฑ์การนำธุรกิจเข้าตลาดหลักทรัพย์
• รายวิชาที่ 4.3 กระบวนการจัดหาเงินทุนและ รูปแบบการหาแหล่งเงินทุนในยุคดิจิทัล
• รายวิชาที่ 4.4 ทรัพย์สินทางปัญญาและแปลงทรัพย์สินทางปัญญาเป็นทุน

• รายวิชาที่ 5.1 องค์ประกอบที่สำคัญในแผนธุรกิจ
• รายวิชาที่ 5.2 Lean Canvas เครื่องมือช่วยก่อตั้งธุรกิจให้พร้อมออกสู่ตลาดอย่างรวดเร็ว
• รายวิชาที่ 5.3 การวิเคราะห์สถานการณ์ (SWOT Analysis)
• รายวิชาที่ 5.4 การจัดทำแผนดำเนินงาน
• รายวิชาที่ 5.5 การจัดทำแผนฉุกเฉิน
• รายวิชาที่ 5.6 การนำเสนอแผนธุรกิจ

• รายวิชาที่ 6.1 หลักเศรษฐกิจพอเพียงและการประยุกต์ใช้ในการดำเนินธุรกิจในยุคดิจิทัล
• รายวิชาที่ 6.2 จริยธรรมของผู้ประกอบการและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินธุรกิจในยุคดิจิทัล

หลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2561

หลักสูตรมุ่งเน้นการพัฒนา ๕ กลุ่มอุตสาหกรรมเดิมที่มีศักยภาพ (First S-curve) และ ๕ กลุ่มอุตสาหกรรมอนาคต (New S-curve)

• รายวิชาที่ 1.1 แนวโน้มของอุตสาหกรรมยานยนต์และอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะในต่างประเทศ
• รายวิชาที่ 1.2 กรณีศึกษาความสำเร็จของอุตสาหกรรมยานยนต์อัจฉริยะ
• รายวิชาที่ 1.3 รูปแบบและโครงสร้างการทำงานของอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่
• รายวิชาที่ 1.4 ปัจจัยสู่ความสำเร็จของอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ
• รายวิชาที่ 1.5 เทคโนโลยีการขับเคลื่อนแบบไร้คนขับของยานยนต์อัจฉริยะ
• รายวิชาที่ 1.6 มองหาโอกาสความพร้อมในการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่และอุตสาหกรรม อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะในประเทศไทย
• รายวิชาที่ 1.7 เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ ( Artificial Intelligence: AI ) ในอุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ และอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์
• รายวิชาที่ 1.8 ระบบบิ๊กดาต้า ( Big Data ) เพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
• รายวิชาที่ 1.9 อุตสาหกรรมพลังงานทดแทนที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยียานยนต์ในทศวรรษหน้า
• รายวิชาที่ 1.10 การเตรียมความพร้อมของกลุ่มอุตสาหกรรมยานยนต์เพื่อเข้าสู่ยุคของรถยนต์พลังงานไฟฟ้า และรถยนต์อัจฉริยะ

• รายวิชาที่ 2.1 แนวโน้มและโอกาสสำหรับอุตสาหกรรมการแพทย์ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและ อุตสาหกรรมท่องเที่ยวรายได้ดีในประเทศไทย
• รายวิชาที่ 2.2 กรณีศึกษาความสำเร็จของอุตสาหกรรมการแพทย์และอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงสุขภาพทั้ง ในประเทศและต่างประเทศ
• รายวิชาที่ 2.3 รูปแบบการทำการตลาดของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและอุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร
• รายวิชาที่ 2.4 การบริหารทรัพยากรบุคคลเพื่อการท่องเที่ยวเชิงบูรณาการ
• รายวิชาที่ 2.5 การสร้างตราสินค้า ( Brand ) ของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวรายได้ดี
• รายวิชาที่ 2.6 การยกระดับมาตรฐานการบริการสู่การเป็นศูนย์กลางของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวรายได้ดี
• รายวิชาที่ 2.7 รูปแบบการบริหารจัดการศูนย์การแพทย์ครบวงจร
• รายวิชาที่ 2.8 เทคโนโลยีการแพทย์สมัยใหม่ ซึ่งเป็นที่ต้องการของกลุ่มลูกค้าที่มีรายได้สูงจากต่างประเทศ
• รายวิชาที่ 2.9 การทำการตลาดของอุตสาหกรรมท่องเที่ยวผ่านแพลตฟอร์มออนไลน์
• รายวิชาที่ 2.10 การพัฒนาสินค้าและผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

• รายวิชาที่ 3.1 แนวโน้มความต้องการของตลาดโลกในด้านสินค้าเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพ
• รายวิชาที่ 3.2 กรณีศึกษาความสำเร็จของอุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีชีวภาพทั้งในและ ต่างประเทศ
• รายวิชาที่ 3.3 กรณีศึกษาความสำเร็จของอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร
• รายวิชาที่ 3.4 การสร้างตราสินค้าของอุตสาหกรรมแปรรูปอาหารในต่างประเทศ
• รายวิชาที่ 3.5 การขยายช่องทางการตลาดและการส่งออกอุตสาหกรรมอาหารแปรรูป
• รายวิชาที่ 3.6 เทคโนโลยีใหม่ในการพัฒนาอุตสาหกรรมเกษตรอัจฉริยะ ( Smart Farming)
• รายวิชาที่ 3.7 การพัฒนาเกษตรกรสู่อุตสาหกรรมเกษตรอัจฉริยะ
• รายวิชาที่ 3.8 กรณีศึกษาความสำเร็จของอุตสาหกรรมเกษตรอัจฉริยะในต่างประเทศ
• รายวิชาที่ 3.9 การนำเอาเทคโนโลยีชีวภาพมาใช้ในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรและอุตสาหกรรม
• รายวิชาที่ 3.10 การใช้สื่อดิจิทัลในการแสวงหาโอกาสและขยายตลาดผ่านช่องทางออนไลน์ของกลุ่ม อุตสาหกรรมเกษตรยุคใหม่

• รายวิชาที่ 4.1 แนวโน้มและเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพทั้งในประเทศและต่างประเทศ
• รายวิชาที่ 4.2 ก๊าซในชั้นหินดินดาน ( Shale Gas ) จะส่งผลต่อราคาพลังงานและนโยบายพลังงานในระดับโลกอย่างไร
• รายวิชาที่ 4.3 กรณีศึกษาอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพในต่างประเทศ
• รายวิชาที่ 4.4 เทคโนโลยีการขนส่งแบบไฮเปอร์ลูป ( Hyperloop ) ซึ่งเป็นต้นแบบของอุตสาหกรรมยานยนต์ในยุคใหม่
• รายวิชาที่ 4.5 รูปแบบและแนวโน้มของอุตสาหกรรมการบินในต่างประเทศ
• รายวิชาที่ 4.6 นโยบายการพัฒนาระบบขนส่ง ( Logistics) ในต่างประเทศ
• รายวิชาที่ 4.7 การลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิตด้วยรูปแบบการขนส่งสมัยใหม่
• รายวิชาที่ 4.8 ปัจจัยในการพัฒนาอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพในประเทศไทย
• รายวิชาที่ 4.9 กรณีศึกษาการนำเทคโนโลยีชีวภาพไปใช้ในเชิงอุตสาหกรรม
• รายวิชาที่ 4.10 รูปแบบการดำเนินธุรกิจขนส่งในยุคดิจิทัล

• รายวิชาที่ 5.1 แนวโน้มและรูปแบบของตลาดอุตสาหกรรมดิจิทัลทั้งในประเทศและต่างประเทศ
• รายวิชาที่ 5.2 การพัฒนาอุตสาหกรรมอนิเมชั่นในประเทศไทย
• รายวิชาที่ 5.3 ปัจจัยสู่ความสำเร็จของอุตสาหกรรมอนิเมชั่นในประเทศไทย
• รายวิชาที่ 5.4 กรณีศึกษาความสำเร็จของผู้ประกอบการอุตสาหกรรมดิจิทัลในประเทศไทย
• รายวิชาที่ 5.5 การทำการตลาดและการแสวงหาฐานลูกค้าในต่างประเทศของอุตสาหกรรมดิจิทัล
• รายวิชาที่ 5.6 เทคโนโลยีใหม่ของอุตสากรรมดิจิทัล
• รายวิชาที่ 5.7 การพัฒนาบุคลากรเข้าสู่อุตสาหกรรมดิจิทัล
• รายวิชาที่ 5.8 โครงสร้างพื้นฐานด้านระบบอินเตอร์เน็ตและไอทีที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมดิจิทัลในประเทศไทย
• รายวิชาที่ 5.9 การหาแหล่งเงินทุนเพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมดิจิทัล
• รายวิชาที่ 5.10 กฎหมายทรัพย์สินทางปัญญาที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบการอุตสากรรมดิจิทัล

หลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2562

Digital Transformation (การปฏิวัติสู่ยุคดิจิทัล) ประจำปีการศึกษา 2562

• รายวิชาที่ 1.1 Digital Disruption สภาวะการเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากการแทรกแซงด้วยเทคโนโลยี
• รายวิชาที่ 1.2 กรณีศึกษาในอุตสาหกรรมต่างๆ
• รายวิชาที่ 1.3 วิธีการรับมือ Digital Disruption ด้วย Digital Transformation
• รายวิชาที่ 1.4 การนำเทคโนโลยีมาใช้ในธุรกิจ เพื่อเข้าสู่ยุค Digital Transformation

• รายวิชาที่ 2.1 Crowdfunding ตลาดของการระดมทุนในรูปแบบใหม่
• รายวิชาที่ 2.2 รูปแบบวิธีการระดมทุนแบบ Crowdfunding
• รายวิชาที่ 2.3 ข้อดีและความเสี่ยงของการทำ Crowdfunding

• รายวิชาที่ 3.1 Crowdsourcing กับการส่งเสริมการพัฒนาสินค้าและบริการ
• รายวิชาที่ 3.2 ค้นหาความต้องการของลูกค้าด้วย Crowdsourcing
• รายวิชาที่ 3.3 เทคนิคการทำ Crowdsourcing

• รายวิชาที่ 4.1. FinTech ในโลกปัจจุบัน
• รายวิชาที่ 4.2. การปรับตัวของ SMEs ด้วย FinTech
• รายวิชาที่ 4.3. Fintech กับบทบาทสถาบันการเงินในยุค Digital

• รายวิชาที่ 5.1. A.I. เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์
• รายวิชาที่ 5.2. การประยุกต์ใช้ A.I. กับธุรกิจ
• รายวิชาที่ 5.3 ประสิทธิภาพและความเสี่ยงของ A.I.

• รายวิชาที่ 6.1 การเติบโตของ SMEs ด้วยการจัดการ Big Data
• รายวิชาที่ 6.2 การวิเคราะห์พฤติกรรมผู้บริโภคด้วย Big Data
• รายวิชาที่ 6.3 การต่อยอด SMEs ด้วย BDaaS (Big Data as a Service)

หลักสูตร ประจำปีการศึกษา 2562

หลักสูตร เสริมแกร่ง SMEs รอบรู้การเงิน (Financial Literacy) ประจำปีการศึกษา 2562

บทที่ 1 บัญชีเดียวคืออะไร

บทที่ 2 งบการเงิน

บทที่ 3 รายการบัญชีที่สำคัญ

บทที่ 4 การแก้ไขรายการบัญชีที่สำคัญ เพื่อทำให้เป็นบัญชีเดียว

บทที่ 5 ข้องบ่งชี้ว่าไม่เป็นบัญชีเดียว ตามข้อพิจารณาของสรรพากร